ศูนย์วิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน (RISC) ภายใต้ MQDC (บริษัท แมกโนเลีย ควอลิตี้ ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด) ย้ำจุดยืนส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้ด้านประสาทวิทยาศาสตร์ (Neuro Science) สร้างความแข็งแกร่งและเครือข่ายบุคลากรคุณภาพเพื่อวางรากฐานให้กับประเทศไทยก่อนต่อยอดสู่นวัตกรรมปัญญาประดิษฐ์ (AI) ผ่านการสนับสนุนกิจกรรม Brain Hackathon พร้อมเผย RISC เป็นศูนย์วิจัยเอกชนรายแรกที่เล็งเห็นศักยภาพของผลงานเยาวชนที่ชนะเลิศจากการแข่งขันมาต่อยอดสู่นวัตกรรมเพื่อความเป็นอยู่ที่ดี เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรมในชีวิตจริง โดยอาจจะนำมาใช้กับโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่พัฒนาโดย MQDC ในอนาคต

ตัวอักษรสัญลักษณ์ไฮโดรเจน H2 ในพื้นที่จัดงานนิทรรศการ Hyvolution ที่กรุงปารีส เมื่อ 1 ก.พ 2567 (Reuters)

ไฮโดรเจนเป็นธาตุที่มีความสำคัญและมีอยู่อย่างเหลือเฟือ ทั้งยังถูกใช้ประโยชน์เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ในหลายด้าน เช่น การขับเคลื่อนรถยนต์และการผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อให้ความอบอุ่นแก่บ้านเรือนและธุรกิจต่าง ๆ แต่ไฮโดรเจนส่วนใหญ่ของโลกนั้นได้มาจากเชื้อเพลิงฟอสซิลซึ่งก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ก่อให้เกิดมลพิษปีละหลายล้านตัน

แม้ว่าเทศกาลตรุษจีนเป็นช่วงที่มีความอุดมสมบูรณ์และเป็นการเริ่มต้นใหม่ แต่ประเพณีหลายอย่างที่เราปฏิบัติตามก็มักสิ้นเปลือง และไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

คนไทยนอกจากจะต้องรับมือกับอากาศร้อนชื้น ยังต้องเจอกับกับแมลงต่างๆ ที่เข้ามาในบ้านของเราโดยไม่รู้ตัว โดยเฉพาะ 'ยุงลาย' ซึ่งเติบโตในเมืองร้อนอย่างประเทศไทยได้ดี และมักจะสร้างความรำคาญให้แก่เราด้วยการกัดตามร่างกาย ทำให้เกิดตุ่มแดงคัน อาการแพ้ หรือแผลเป็น แถมยังทำให้เรามีโอกาสเป็น 'โรคไข้เลือดออก' ซึ่งทำให้เรามีไข้สูง และอาจมีอาการรุนแรงจนอันตรายถึงชีวิต โดยกรมควบคุมโรคเผย ปี 2566 มีตัวเลขผู้ติดเชื้อไข้เลือดออกสูงถึง 156,079 ราย และเสียชีวิต 175 ราย ! วันนี้ นพ.บารมี พงษ์ลิขิตมงคล แพทย์ผู้ชำนาญการเวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine) ศูนย์อายุรกรรม รพ.วิมุต จะมาเล่าถึงความอันตรายของโรคไข้เลือดออก พร้อมแนะนำวิธีป้องกันและรักษา เพื่อจะได้รับมือกับโรคนี้ได้อย่างถูกวิธี