ชื่อเรื่อง : การนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ของเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมในประเทศไต้หวัน
ผู้แต่ง : Wei, M.-S.; Huang, K.-H.
แหล่งข้อมูล : Waste Management (Oxford) (2000), Volume Date 2001, 21(1), 93-97.
บทคัดย่อ (อังกฤษ) : A review with 11 refs. Eighteen million metric tons of industrial wastes are produced every year in Taiwan. In order to properly handle the industrial wastes, the Taiwan Environmental Protection Administration (Taiwan EPA) has set up strategic programs that include establishment of storage, treatment, and final disposal systems, establishment of a management center for industrial wastes, and promotion of recycling and reuse of industrial wastes. The Taiwan EPA has been actively promoting the recycling and reuse of industrial wastes over the years. In July 1995 the Taiwan EPA amended and promulgated the Criteria for the Industrial Waste Storage, Collection and Processing Facility, July, 1995 that added articles related to general industrial waste recycling and reuse. In June 1996 the Taiwan EPA promulgated the Non-listed General Industrial Waste Reuse Application Procedures, June, 1996, followed by the Regulations Governing the Permitting of Hazardous Industrial Waste Reuse, June 1996, setting up a full regulatory framework for governing industrial waste reuse. To broaden the recycling and reuse of general industrial wastes, the Taiwan EPA has listed 14 industrial waste items for recycling and reuse, including waste paper, waste iron, coal ash, tempered high furnace bricks (cinder), high furnace bricks (cinder), furnace transfer bricks (cinder), sweetening dregs, wood (whole/part), glass (whole/part), bleaching earth, ceramics (pottery, brick, tile and cast sand), individual metal scraps (copper, zinc, aluminum and tin), distillery grain (dregs) and plastics. As of June 1999, 99 applications for reuse of industrial wastes had been approved with 1.97 million metric tons of industrial wastes being reused..
บทคัดย่อ (ไทย) : เป็นการวิเคราะห์จากเอกสารอ้างอิง 11 ฉบับ กล่าวคือ ประทศไต้หวันมีเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมถึง 18 ล้านเมตริกตันในทุกๆ ปี การจัดการเกี่ยวกับเศษเหลือทิ้งเหล่านี้ทำให้เกิดหน่วยงาน Taiwan Environmental Protection Administration (Taiwan EPA) ขึ้นโดยมีหน้าที่ในการจัดเก็บ ปฏิบัติและกำจัดอย่างเป็นระบบ จึงถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางในการจัดการกับเศษเหลือทิ้งโดยการสนับสนุนให้มีการนำเศษเหลือทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ซึ่งหน่วยงาน Taiwan EPA ได้ปฏิบัติสืบต่อเนื่องกันมา ในปี 1995 เดือนมิถุนายน Taiwan EPA ได้ประกาศให้มีบรรทัดฐานในกระบวนการจัดเก็บ และรักษาเศษเหลือทิ้งของอุตสาหกรรมต่างๆ ปี 1995 เดือนกรกฎาคมได้เกิดหัวเรื่องที่จะให้มีการนำเศษเหลือทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ในปี 1996 เดือนมิถุนายน Taiwan EPA ประกาศรายชื่อโรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่ขึ้นทะเบียนนำเศษเหลือทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เป็นเหตุให้รัฐบาลออกกฎข้อบังคับการอนุญาตให้มีการจัดเก็บวัตถุมีพิษและมีการนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และมีการจัดตั้งระบบงานเป็นโครงร่างอย่างมีแบบแผนเพื่อจัดการกับการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ของเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม ประเทศไต้หวันมีรายชื่อโรงงานที่มีการนำเศษเหลือทิ้งกลับมาใช้ใหม่ 14 รายชื่อ ประกอบด้วยเศษเหลือทิ้งของโรงงานกระดาษ เหล็ก เถ้าของถ่านหิน (coal ash) อิฐที่เผาในเตาเผาและใช้อุณหภูมิสูง การเคลื่อนย้ายของอิฐระหว่างเตาเผา กากที่มีรสหวาน (sweetening dregs) ไม้ (ทั้งต้น/บางส่วนของต้น) แก้ว (ทั้งใบ/บางส่วนของแก้ว) เซรามิกที่ฟอกสี (เช่น เครื่องดินเผา อิฐ กระเบื้อง และทรายหล่อ (cast sand) เศษโลหะ (ทองแดง สังกะสี อะลูมินัม และตะกั่ว) สีที่ได้จากการกลั้น (distillery grain) ปี 1999 เดือนมิถุนายน มีการใช้ประโยชน์จากเศษเหลือทิ้งเหล่านี้ถึง 99 แบบคิดเป็น 1.97 ล้านเมตริกตันของเศษเหลือทิ้งที่มีการนำกลับมาใช้ได้อีก
ประเภทเอกสาร : journal
หมายเลขอ้างอิง : 134:18871e