ชื่อเรื่อง : การกำหนดปริมาณและการจำแนกของซากเรือที่เมือง Alang-Sosiya ประเทศอินเดีย

ผู้แต่ง : Reddy, M. Srinivasa; Basha, Shaik; Kumar, V. G. Sravan; Joshi, H. V.; Ghosh, P. K.

แหล่งข้อมูล : Marine Pollution Bulletin  2003,  46(12),  1609-1614.

บทคัดย่อ (อังกฤษ) : Alang-Sosiya located on the Western Coast of Gulf of Cambay, is the largest ship recycling yard in the world. Every year on av. 365 ships having a mean wt. (2.10 x 106 ± 7.82 x 105 LDT) are scrapped. This industry generates a huge quantity of solid waste in the form of broken wood, rubber, insulation materials, paper, metals, glass and ceramics, plastics, leather, textiles, food waste, chems., paints, thermocol, sponge, ash, oil mixed sponges, misc. combustible and non-combustible. The quantity and compn. of solid waste was collected for a period of three months and the av. values are presented in this work. Sosiya had the most waste 15.63 kg/m2 compared to Alang 10.19 kg/m2. The combustible solid waste quantity was around 83.0% of the total solid waste available at the yard, which represents an av. wt. of 9.807 kg/m2; whereas, non-combusible waste is 1.933 kg/m2. There is much not difference between the av. of total solid waste calcd. from the sampling data (96.71 MT/day) and the data provided by the port authorities.

บทคัดย่อ (ไทย) : Alang-Sosiya ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันตกของอ่าว Cambay ซึ่งเป็นที่มีการรีไซเคิลเรือทะเลใหญ่ที่สุดในโลก ทุก 1 ปี จะมีเรือทะเลเฉลี่ย 365 ลำถูกทำลาย (คิดเป็นน้ำหนักเฉลี่ย 2.10 x 106 ± 7.82 x 105  light displacement ton : LDT เป็นน้ำหนักเรือเปล่าที่ไม่มีสิ่งบรรทุกใดๆ อยู่บนเรือ) อุตสาหกรรมนี้จึงเปลี่ยนปริมาณเศษเหลือทิ้งปริมาณมหาศาลให้อยู่ในรูปเศษของไม้หัก ยาง วัสดุที่เป็นฉนวน กระดาษ โลหะ แก้ว และเซรามิก พลาสติก เครื่องหนัง สิ่งทอ เศษอาหาร สารเคมี สีทา เทอร์โมคอล (thermocol) ฟองน้ำ เถ้า น้ำมันผสมฟองน้ำ สิ่งของที่เผาไหม้ได้และไม่ได้มากมาย ปริมาณและส่วนประกอบต่างๆ ของเศษเหลือทิ้งเหล่านี้จะถูกจัดเก็บใช้เวลา 3 เดือนและถือเป็นช่วงที่สร้างคุณค่าให้กับเศษเหลือทิ้ง เมือง Sosiya รวบรวมเศษเหลือทิ้งได้ถึง 15.63 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เปรียบเทียบกับเมือง Alang ที่รวบรวมได้ 10.19 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ปริมาณเศษเหลือทิ้งที่สามารถเผาไหม้ได้มีอยู่ประมาณ 83 % ของเศษเหลือทิ้งที่สร้างคุณค่าได้ทั้งหมด ซึ่งคิดเป็นน้ำหนักเฉลี่ย 9.807 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เศษเหลือทิ้งที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้มีอยู่ประมาณ 1.933 กิโลกรัมต่อตารางเมตร จึงไม่มีความแตกต่างระหว่างน้ำหนักของเศษเหลือทิ้งทั้งหมดที่เป็นข้อมูลจากการสุ่มตัวอย่างจริง (96.71 MT/วัน) กับข้อมูลที่ได้จากผู้แต่ง

ชนิดวัสดุเหลือใช้ : Ceramic

ประเภทเอกสาร : journal

หมายเลขอ้างอิง : 140:98868w