คำตอบ

1. แสดงข้อมูลโภชนาการอย่างตรงไปตรงมาและเห็นได้ชัดเจน ซึ่งทำให้ผู้บริโภคอ่านและเข้าใจง่ายกว่ากรอบโภชนาการแบบเดิม

2. ผู้บริโภคสามารถเปรียบเทียบคุณค่าทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์เดียวกันได้ทันทีจากตัวเลขและสามารถเลือกรับประทานอาหารที่มีความหวาน มัน เค็มลดลง

3. ส่งเสริมให้ผู้บริโภครับผิดชอบตัวเองในด้านสุขภาพและส่งเสริมการบริโภคอาหารที่สมดุล

4. ใช้เป็นสื่อในการสอน กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับโภชนาการ รวมทั้งปลูกฝังพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม และเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งปลูกฝังพฤติกรรมการบริโภคที่เหมาะสม และเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีคุณค่าทางโภชนาการที่ดีขึ้นและนำไปสู่การลดหวาน มัน เค็ม อันจะนำไปสู่การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเกินที่ยั่งยืนต่อไป

รายชื่อเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ฉลากโภชนาการแบบจีดีเอ หรือฉลากหวาน มัน เค็ม. วารสารการบรรจุภัณฑ์. ปีที่ 23, ฉบับที่ 3 (เมษายน-มิถุนายน) 2558, หน้า 14.