ชื่อเรื่อง : โครงสร้างจุลภาค-ความสัมพันธ์ที่ปรากฏในวัสดุ PMMA ที่เป็นเซลล์รูพรุนแบบเปิดสำหรับทำเครื่องสุขภัณฑ์เซรามิกความดันสูง
ผู้แต่ง : Ergun, Y.; Yilmaz, M.; Tokman, C.; Tanoglu, M.
แหล่งข้อมูล : Key Engineering Materials 2004, 264-268 (Pt. 3,Euro Ceramics VIII), 2235-2238 (Eng).
บทคัดย่อ (อังกฤษ) : The ceramic whiteware/sanitaryware industry is rapidly undergoing to implement high-pressure casting techniques for ceramic article prodn. In these techniques, materials with open pore microstructure that allows drainage of water under applied pressure are needed. The polymethyl methacrylate (PMMA) based polymeric porous materials have become the most suitable type of materials for this purpose because of their short casting periods and high service lives. However, the superior service life and performance of these materials are closely related to the microstructure. In the present study, the porous materials with various compns. of the constituents in the emulsion were produced to effect the microstructure of PMMA-based materials. The variations on the pore microstructure were interrelated to the performance of the material for high-pressure sanitaryware casting. The pore morphol. and water permeability of the samples was measured using optical and SEM microscopy and permeability measurement techniques, resp. The compressive collapse stress and modulus values were detd. By performing compression testing. The results showed a significant interrelation between microstructure and the performance of the PMMA-based ceramic mold materials.
บทคัดย่อ (ไทย) : อุตสาหกรรมเซรามิกไวต์แวร์/เครื่องสุขภัณฑ์มีการเจริญเติบโตเร็วมาก มีการใช้ความดันสูงเป็นเทคนิคสำหรับผลิตวัสดุเซรามิก วัสดุที่มีโครงสร้างจุลภาคแบบช่องเปิดจะมีความสามารถยอมให้น้ำระบายได้ (drainage) การใช้ความดันสามารถช่วยในเทคนิคเหล่านี้ได้ โพลิเมทิลเมทาคริเลต (polymethyl methacrylate :PMMA) เป็นวัสดุที่อยู่บนพื้นฐานหลักการดังกล่าวจึงกลายเป็นวัตถุดิบที่มีความเหมาะสมเนื่องจากมี casting periods สั้นและมีอายุการใช้งาน (service lives) นาน อย่างไรก็ตาม อายุการใช้งานสูงสุดและลักษณะของวัตถุดิบนี้มีความใกล้เคียงกับโครงสร้างจุลภาคที่ต้องการ การศึกษาในปัจจุบัน วัสดุที่มีความพรุนจะมีองค์ประกอบที่แตกต่างกัน ส่วนประกอบที่อยู่ในอิมัลชัน (emulsion) ที่ผลิตขึ้นมามีผลต่อโครงสร้างจุลภาคของ PMMA ความผันแปรของรูพรุนในโครงสร้างจุลภาคมีความสัมพันธ์กับลักษณะของวัสดุที่ปรากฏออกมาสำหรับผลิตเครื่องสุขภัณฑ์โดยใช้ความดันสูง ลักษณะรูปร่างของรูพรุน (pore morphology) และการซึมผ่านของน้ำ (water permeability) ตัวอย่างจะถูกวัดโดยใช้สายตาประเมินและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดหรือสเกนนิง (SEM microscopy) และเทคนิควัดการซึมผ่านของน้ำ ตามลำดับ ค่าความทนต่อแรงอัดล้ม (compressive collapse stress) และมอดุลัส (modulus) ถูกนำมาพิจารณาด้วยโดยการทดสอบแรงอัด ผลที่ได้พบว่า โครงสร้างจุลภาคและลักษณะรูปร่างของ PMMA ที่ใช้มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ
ชนิดวัสดุเหลือใช้ : ceramic
ประเภทเอกสาร : journal
หมายเลขอ้างอิง : 142:450319f