ชื่อเรื่อง : คุณสมบัติของควอทซ์ในชิ้นงานไวต์แวร์
ผู้แต่ง : De Jong, J.
แหล่งข้อมูล : Tijdschr. Klei, Glas Keram. 1992, 13(8), 246-52 (Neth)
บทคัดย่อ (อังกฤษ) : The effect of certain cryst. addns., i.e., quartz and alumina, on the mech. strength of china and whiteware was studied using simplified models prepd. from known glasses with strongly diverging values of the thermal dilation which had been sintered together with these addns. On the whole, the addns. gave a weakening, unless, as with the addn. of quartz, the grain size was kept below 25 µm or, as with the addn. of alumina, the difference in thermal dilation between the components was kept as small as possible. These results are attributed to the presence of microstresses around and in the grains. A good indication of the presence and the value of these microstresses was given by the thermal dilation of the sintered products. Although under certain circumstances the presence of microstresses led to a certain increase in the mech. strength, the expts. indicated that in the 1st instance the mech. strength was roughly proportional to Young’s modulus.
บทคัดย่อ (ไทย) : การศึกษาผลของการเติมผลึก เช่น ควอทซ์ และอะลูมินา ต่อความแข็งแรงเชิงกลของกระเบื้อง และไวต์แวร์ โดยใช้รูปแบบอย่างง่ายซึ่งเตรียมจากแก้วที่มีค่าของ thermal dilation แตกต่างกันมากนำมาเผาผนึก(sintering) โดยเติมผลึกดังกล่าว โดยทั่วไปแล้วการเติมผลึกจะทำไห้คุณสมบัติด้อยลงยกเว้นการเติมผลึกของควอทซ์ ซึ่งต้องมีขนาดต่ำกว่า 25 ไมโครเมตร หรือ การเติมอะลูมินาก็ตาม ความแตกต่างของ thermal dilation ระหว่างองค์ประกอบจะต้องน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นการเกิด microstress รอบๆ และในเกรน (grain) การบ่งชี้ที่ดีของการเกิด microstress พิจารณาจาก thermal dilation ของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการเผาผนึก ถึงแม้ว่าในทางปฏิบัติการเกิด microstress จะทำให้ความแข็งแรงเชิงกลเพิ่มขึ้น แต่จากการทดลองแสดงให้เห็นว่าในการเกิดความแข็งแรงเชิงกลในครั้งแรกมีสัดส่วนที่ไม่มากนักเมื่อใช้สมการมอดูลัสของยัง (Young’s modulus)
ชนิดวัสดุเหลือใช้ : ceramic
ประเภทเอกสาร : journal
หมายเลขอ้างอิง : 119:101815a