การเปลี่ยนแปลงของโลกในปัจจุบันนั้น “มาตรฐาน” ถือว่ามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง ที่จะช่วยให้เกิดประโยชน์ในด้านการค้า การลงทุนที่ระบบเศรษฐกิจได้เชื่อมประเทศต่าง ๆ ให้เป็นระบบเศรษฐกิจโลกผ่านกลไกการค้าและความร่วมมือระหว่างประเทศ และประเทศไทยเป็นประเทศที่มีบทบาทในระดับต้น ๆ ของโลก ด้านการส่งออกผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ สู่นานาประเทศ จำเป็นต้องศึกษาและปรับตัว

โดยเฉพาะการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ คาสิโนออนไลน์ เว็บตรง ยอดนิยม ให้เป็นที่ยอมรับของตลาดโลก

เพื่อรักษาตลาดและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากประเทศคู่แข่งที่มีจำนวนเพิ่มขึ้น ดังนั้น การพัฒนา ยกระดับ และรักษามาตรฐานการผลิต ถือเป็นหัวใจสำคัญของความสำเร็จทางธุรกิจทั้งภายใน และในระดับนานาประเทศ ที่ผู้ประกอบการต้องตระหนักไม่น้อยกว่าการให้คุณค่าด้านความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือและเพิ่มศักยภาพด้านการแข่งขันอย่างยั่งยืน

          เอกสารมาตรฐาน (standard) เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นโดยได้รับความเห็นชอบอย่างสมานฉันท์ (consensus) จากผู้เกี่ยวข้อง คือ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และนักวิชาการ และโดยความเห็นชอบของสถาบันมาตรฐาน เพื่อประโยชน์ในการใช้ร่วมกันและให้ใช้ในกรณีต่าง ๆ โดยใช้เป็นกฎระเบียบ แนวทาง หรือลักษณะเฉพาะสำหรับกิจกรรมหรือผลของกิจกรรมนั้น ๆ  อีกทั้งเป็นกลุ่มเอกสารประเภทกฎเกณฑ์หรือเอกสารที่มีลักษณะบังคับ รวมถึงเอกสารประเภทข้อกำหนดรายการทางเทคนิค หลักปฏิบัติ และกฎระเบียบด้วย จำแนกได้ดังนี้

โครงสร้างฯ ประกอบด้วย 2 ส่วน

  • ส่วนของเนื้อหา (body) ได้แก่ ขอบข่าย บทนิยาม ข้อกำหนด คุณลักษณะที่ต้องการ วิธีวิเคราะห์ ทดสอบ วิธีชักตัวอย่างและเกณฑ์การตัดสิน การทำเครื่องหมายหรือฉลาก วิธีการบรรจุหีบห่อ และภาคผนวกที่เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา

ส่วนข้อมูลเพิ่มเติม (additional elements) เป็นส่วนที่ไม่มีผลต่อเนื้อหา เช่น บทนำ พิมพ์ลักษณ์ (imprint) และหมายเหตุต่างๆ

แหล่งผลิตมาตรฐาน

  • องค์การระหว่างประเทศ (International organization) เช่น
    • International Organization for Standardization ISO
    • Codex Alimentarius Commission-CODEX
    • International National Association of corrosion Engineers - NACE
  • องค์การมาตรฐานภูมิภาค (Regional Standards Organization) เช่น
    • European Committee for StandardizationCEN
    • European Committee for Electrotechnical Standardization CENELEC
    • European Telecommunication Standardization Institute ETSI
  • สถาบันมาตรฐานแห่งชาติ (National Standards Body) เช่น
    • Thai Industrial Standards Institute TISI
    • Japanese Industrial Standards Committee JISC
    • British Standards Institution BSI
    • Deutsches Institute fur Normung DIN (German Institute for Standardization)
    • Association Francaise de Normalisation AFNORR
    • American National Standards Institution ANSI เช่น
      • สมาคมการทดสอบและวัสดุแห่งสหรัฐอเมริกา (American Society for Testing and Materials ASTM) กำหนดมาตรฐานวัสดุ และวิธีทดสอบของผลิตภัณฑ์ จำนวน 15 สาขา
      • สถาบันคอนกรีตแห่งสหรัฐอเมริกา (American Concrete Institute ACI) มาตรฐานที่สมาคมจัดทำเรียกว่า มาตรฐานเอซีไอ (ACI)

สถาบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐ (American Petroleum Institute API) เป็นสถาบันวิชาการที่กำหนดมาตรฐานสาขาปิโตรเลียม มาตรฐานที่กำหนดเรียกว่า มาตรฐานเอพีไอ

ประโยชน์ของเอกสารมาตรฐาน

  • ช่วยให้ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และบริการมีความเหมาะสมกับการใช้งาน
  • ช่วยให้ผลิตภัณฑ์มีขนาดและรูปแบบในจำนวนที่เหมาะสม โดยไม่มีความหลากหลายเกินความจำเป็น เพื่อลดต้นทุนในการผลิต
  • ทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์อื่นสามารถเข้ากันได้ดีและทำให้ผลิตภัณฑ์สามารถสลับเปลี่ยนทดแทนกันได้
  • ทำให้ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัยแก่ผู้ใช้
  • ช่วยป้องกันสิ่งแวดล้อมอันอาจจะมีผลกระทบหรือถูกทำลายเนื่องจากการใช้ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ
  • ใช้เป็นข้อตกลงในทางการค้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งการค้าระหว่างประเทศ เนื่องจากมาตรฐานจะช่วยให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกัน ช่วยให้เกิดความเป็นธรรมในทางการค้า ทั้งนี้ WTO (World Trade Organization) ยังได้กำหนดไว้ในความตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางเทคนิคต่อการค้า สนับสนุนให้นำมาตรฐานระหว่างประเทศมาใช้ในการค้าระหว่างประเทศ