วัคซีนซิโนฟาร์ม 2 แบบ ที่ผลิตจากกรุงปักกิ่งและนครอู่ฮั่น

.

วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ของบริษัทซิโนฟาร์ม (Sinopharm) จากประเทศจีน นับว่าเป็นวัคซีนทางเลือกชนิดล่าสุดที่มีการนำเข้ามาในประเทศไทย ทำให้ปัจจุบันมีวัคซีนสัญชาติจีนถึง 2 ชนิดที่องค์กรของรัฐจัดสรรให้แก่ประชาชน แต่ก็ยังเป็นที่สงสัยกันว่าวัคซีนของซิโนฟาร์มมีความแตกต่าง หรือมีประสิทธิภาพเหนือชั้นกว่าวัคซีนของบริษัทซิโนแวค (Sinovac) ที่กำลังถูกวิพากษ์วิจารณ์มากน้อยเพียงใดกันแน่

ท่ามกลางกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในหมู่ผู้ใช้โซเชียลมีเดียในไทยถึงคุณภาพและความปลอดภัยของวัคซีนซิโนแวค ซึ่งเป็นวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ตัวหลักที่รัฐบาลจัดสรรให้ประชาชน อีกด้านหนึ่ง มีการเผยแพร่ส่งต่อข้อมูลของวัคซีนอีกชนิดทางโซเชียลมีเดียอย่างกว้างขวาง ซึ่งข้อมูลนี้เป็นคำเตือนถึงหายนะที่อาจเกิดขึ้นกับมวลมนุษยชาติ จากการฉีดวัคซีนชนิด "เอ็มอาร์เอ็นเอ" (mRNA)

เจ้าหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์แห่งชาติเคนยา นำซากปลาซีลาแคนท์ที่จับได้เมื่อปี 2001 มาจัดแสดง

.

ปลาซีลาแคนท์ (Coelacanth) ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็น "ฟอสซิลที่ยังมีชีวิต" เพราะเป็นปลาดึกดำบรรพ์ที่ดำรงเผ่าพันธุ์สืบต่อกันมาได้นานถึง 420 ล้านปี อาจเป็นปลาที่มีอายุยืนยาวกว่าที่นักวิทยาศาสตร์เคยคิดเอาไว้

แอสตร้าเซนเนก้าเป็นวัคซีนหลักที่ออสเตรเลียมีให้แก่ประชาชน แต่ปัจจุบันมีคนเพิ่มขึ้นที่ไม่ต้องการวัคซีนชนิดนี้