เจ้าหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์แห่งชาติเคนยา นำซากปลาซีลาแคนท์ที่จับได้เมื่อปี 2001 มาจัดแสดง

.

ปลาซีลาแคนท์ (Coelacanth) ซึ่งได้รับการขนานนามว่าเป็น "ฟอสซิลที่ยังมีชีวิต" เพราะเป็นปลาดึกดำบรรพ์ที่ดำรงเผ่าพันธุ์สืบต่อกันมาได้นานถึง 420 ล้านปี อาจเป็นปลาที่มีอายุยืนยาวกว่าที่นักวิทยาศาสตร์เคยคิดเอาไว้

แอสตร้าเซนเนก้าเป็นวัคซีนหลักที่ออสเตรเลียมีให้แก่ประชาชน แต่ปัจจุบันมีคนเพิ่มขึ้นที่ไม่ต้องการวัคซีนชนิดนี้

ผลวิเคราะห์คลื่นความโน้มถ่วง (gravitational wave) ที่มนุษย์สามารถตรวจจับได้เป็นระลอกแรกเมื่อ 6 ปีก่อน ชี้ว่าทฤษฎีเกี่ยวกับพื้นที่ผิวของหลุมดำ ซึ่งคิดค้นโดยสตีเฟน ฮอว์คิง ในช่วงทศวรรษ 1970 เป็นแนวคิดที่ถูกต้องและสอดคล้องกับทฤษฎีพื้นฐานทางฟิสิกส์ที่มีมาก่อนหน้านี้

แม้วงการแพทย์และวิทยาศาสตร์จะทุ่มเทอย่างมหาศาลให้กับการค้นหาวิธีหยุดยั้งความชรา รวมไปถึงวิทยาการใหม่ ๆ เพื่อชะลอวัย หรือแม้แต่ยาวิเศษที่จะช่วยคืนความเป็นหนุ่มสาวให้ แต่ผลการศึกษาล่าสุดจากกลุ่มประชากรขนาดใหญ่ทั่วโลกกลับแจ้งข่าวร้ายว่า เราไม่มีทางจะเอาชนะกระบวนการไปสู่ความชราภาพของร่างกายนี้ได้เลย