ภาพจำลองระบบสุริยะซึ่งประกอบด้วยดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์บริวารทั้งแปด และแถบดาวเคราะห์น้อย

ในทุกเดือนเราจะได้ยินข่าวดาราศาสตร์เกี่ยวกับการระเบิดซูเปอร์โนวา หลุมดำ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ทำให้ระบบดาวฤกษ์ในจักรวาลถูกทำลาย แล้วระบบสุริยะที่เป็นบ้านของดาวเคราะห์ทั้งแปดรวมถึงโลก ซึ่งอยู่มานานถึง 4.5 พันล้านปีแล้วนั้น จะอยู่ยั้งยืนยงต่อไปได้อีกนานแค่ไหน ?

ธารน้ำแข็งเซียเชน (Siachen glacier) ในแถบเทือกเขาหิมาลัย ถือเป็นธารน้ำแข็งยาวที่สุดอันดับสองของโลกที่ไม่ได้ตั้งอยู่ในเขตขั้วโลก

ทีมนักวิทยาศาสตร์จีนค้นพบจุลินทรีย์ หรือจุลชีพที่ไม่เคยรู้จักมาก่อนกว่า 900 ชนิดอาศัยอยู่ในธารน้ำแข็งแถบที่ราบสูงทิเบต ผลการวิเคราะห์จีโนม หรือข้อมูลพันธุกรรมทั้งหมดของจุลินทรีย์เหล่านี้บ่งชี้ว่า บางชนิดมีความเป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดโรคระบาดใหญ่ครั้งใหม่ หากพวกมันหลุดพ้นจากการถูกจองจำในธารน้ำแข็งที่ละลายลงอย่างรวดเร็วจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

A researcher deploys a hydrophone, which helps to record underwater soundscape for a pilot project using artificial intelligence system to identify reef health, June 24, 2019.

ทีมงานที่ประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์จากนานาชาติใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ในการศึกษาเสียงใต้น้ำที่เกิดจากปะการังเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในท้องทะเลชนิดนี้

“ดาวเรียงกัน” เป็นหนึ่งปรากฏการณ์ทางด้านดาราศาสตร์ที่น่าสนใจ เพราะเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นไม่บ่อยนักที่ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะจะเรียงกันอย่างสวยงาม ให้ได้เห็นพร้อมๆ บนท้องฟ้า ตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของดวงอาทิตย์ และทำไมดวงดาวที่เราเห็นจึงสามารถมาเรียงกันให้ได้ Science - MGROnline จึงขออธิบายในเรื่องนี้