โครงสร้างชั้นเกือบในสุดของอุปกรณ์ตรวจจับสสารมืด LUX-ZEPLIN

ผลการทดสอบเดินเครื่องอุปกรณ์ตรวจจับสสารมืด "ลักซ์-เซปลิน" (LUX-XEPLIN) ซึ่งตั้งอยู่ที่เหมืองทองเก่าลึกลงไปใต้ดิน 1 กิโลเมตร ที่รัฐเซาท์ดาโกตาของสหรัฐฯ พบว่าอุปกรณ์ดังกล่าวมีความไวในการตรวจจับอนุภาคหายากสูงที่สุดในโลก และอาจค้นพบสสารมืดได้ภายในช่วงทศวรรษข้างหน้านี้

ภาพถ่ายใจกลางกาแล็กซีทางช้างเผือก ซึ่งนำข้อมูลรังสีเอกซ์ (สีเขียวและสีน้ำเงิน) จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศจันทรา รวมเข้ากับข้อมูลคลื่นวิทยุ (สีแดง) จากกล้องโทรทรรศน์ MeerKAT บนพื้นโลก

ทีมนักชีวดาราศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยีการบินอวกาศแห่งชาติสเปน (INTA) ค้นพบว่ากลุ่มเมฆโมเลกุลที่เย็นยะเยือกบริเวณใจกลางดาราจักรที่เราอาศัยอยู่ เต็มไปด้วยสารอินทรีย์หลากชนิดในปริมาณที่หนาแน่นอย่างมหาศาล ซึ่งสารอินทรีย์กลุ่มหนึ่งในจำนวนนี้เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของสารพันธุกรรมอาร์เอ็นเอ (RNA) ที่อาจเป็นต้นกำเนิดของสิ่งมีชีวิตบนโลก

อุปกรณ์ LiDAR ของโตชิบาพร้อมเครื่องฉายภาพสองเครื่องที่เพิ่งพัฒนาขึ้นใหม่

ในช่วงหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา ยานยนต์ไร้คนขับได้พัฒนาจากเพียงภาพวิสัยทัศน์แห่งอนาคตมาสู่ความเป็นจริงแล้ว อุปกรณ์ LiDAR (อุปกรณ์ตรวจจับและวัดระยะด้วยแสง หรือ อุปกรณ์ประมวลผลภาพ ตรวจจับ และวัดระยะด้วยเลเซอร์) เป็นตัวรับรู้หรือเซนเซอร์ที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับยานยนต์ไร้คนขับ เทคโนโลยีนี้มีการนำไปใช้แล้วในรถยนต์หรูที่มีระบบขับเคลื่อนไร้คนขับระดับสาม ซึ่งเป็นระดับชนิดมีเงื่อนไข แต่โตชิบาเป็นหนึ่งในบริษัทที่มีอุปกรณ์ LiDAR ที่รองรับระบบขับเคลื่อนไร้คนขับระดับสี่ได้

เปิดขุมทรัพย์ทางปัญญา - เปิดประตูสู่อนาคต อว.จับมือเครือ CP วิจัย 4 เรื่องหลักที่เป็นอนาคตของโลก “เนื้อสัตว์ทางเลือก - แบตเตอรี่ ชิป และยานยนต์ไฟฟ้า - อาหารเป็นยาอายุวัฒนะ - การเกษตรแห่งอนาคต” ในโครงการ “การเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรม” บนแพลตฟอร์ม Talent Mobility “เอนก” ลั่น พร้อมเปิดให้ทุกกลุ่มธุรกิจ ทุกบริษัทเข้ามาสร้างงานวิจัยที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคเอกชนและสังคมอย่างแท้จริง ชี้หมดเวลาแล้วสำหรับงานวิจัยที่อยู่บนหอคอยงาช้าง ขณะที่ “ธนินท์ เจียรวนนท์” ประธานเครือ CP เผยนักวิจัยไทยเก่งเป็นอันดับต้นของโลก