กรมวิทย์ฯ บริการ เดินหน้าเสริมศักยภาพห้องปฏิบัติการ สร้างมาตรฐานประเทศเทียบเท่าสากลด้วยการประกันคุณภาพ พร้อมขยายเครือข่ายในมหาวิทยาลัยให้ผู้ประกอบการในทุกภูมิภาคมีโอกาสเข้าถึงบริการด้านวิทยาศาสตร์ได้สะดวกขึ้น ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้ประเทศไทย

เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2567 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดงาน อว.แฟร์ : SCI POWER FOR FUTURE THAILAND มหกรรมส่งเสริมการใช้ประโยชน์ อววน. เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทยอย่างยั่งยืน ด้วยพลังสหวิทยาการ หรือ“อว.แฟร์” จัดโดย กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอว. นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัตมน์ ปลัดกระทรวง อว. และคณะผู้บริหาร เฝ้าฯ รับเสด็จ พร้อมมี นางสาวเพชรดาว โต๊ะมีนา ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. นางสาวสุชาดา แทนทรัพย์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. และผู้แทนศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ทูลเกล้าฯ ถวายพวงมาลัย ณ ฮอลล์ 3 ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2567 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดงาน อว.แฟร์ : SCI POWER FOR FUTURE THAILAND มหกรรมส่งเสริมการใช้ประโยชน์ อววน. เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจไทยอย่างยั่งยืน ด้วยพลังสหวิทยาการ หรือ“อว.แฟร์” จัดโดย กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี นายอนุทิน ชาญวีรกูล รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอว. นายเพิ่มสุข สัจจาภิวัตมน์ ปลัดกระทรวง อว. และคณะผู้บริหาร เฝ้าฯ รับเสด็จ พร้อมมี นางสาวเพชรดาว โต๊ะมีนา ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. นางสาวสุชาดา แทนทรัพย์ เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. และผู้แทนศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ทูลเกล้าฯ ถวายพวงมาลัย ณ ฮอลล์ 3 ชั้น G ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์

การประดิษฐ์คิดค้นและพัฒนา “รกเทียม” หรือ “ครรภ์มารดาเทียม” (artificial womb) อาจช่วยชีวิตทารกที่เกิดก่อนกำหนดไว้ได้เป็นจำนวนมาก แต่เรื่องนี้ยังคงเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ว่า อะไรคือข้อควรระวังทางศีลธรรมและจริยธรรมที่ต้องคำนึงถึง ก่อนที่การทดลองระดับคลินิกในมนุษย์จะเริ่มขึ้น