Authorวินดี้, นามแฝง.

Sourceเส้นทางเศรษฐี 25, 438 (มี.ค. 2562) 53

Abstractน้ำมันจากเมล็ดชาที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Camellia Pleifera seed oil เป็นไขมันดี ไม่มีกรดไขมันทรานส์ ช่วยให้ร่างกายดูดซึมวิตามินเอ วิตามินดี วิตามินอี และวิตามินเค ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มีกรดไขมันไม่อิ่มตัว ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล ป้องกันความเสี่ยงในการเกิดโรคความดัน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคเบาหวาน อุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระอย่างวิตามินอีและสารคาเทซิน นอกจากบริโภคแล้วน้ำมันชาสามารถใช้บำรุงเส้นผมและผิวพรรณช่วยลดริ้วรอยได้ ซึ่งในบทความนี้จะมีวิธีการทำสลัดแซลมอนที่ใช้น้ำมันเมล็ดชา เป็นส่วนผสมอย่างละเอียดด้วย.

Subjectน้ำมันเมล็ดชา. น้ำมันชา. น้ำมันเมล็ดชา -- สรรพคุณ.

Authorกนกพร หมีทอง

Sourceเส้นทางเศรษฐี 25, 438 (มี.ค. 2562) 48-49

Abstractวอฟเฟิลกรอบและมันอบกรอบแปรรูปจากมันสำปะหลังเป็นผลิตภัณฑ์จากโครงการแปรรูปมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหารเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มของคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยผลิตภัณฑ์วอฟเฟิลมี 2 รสชาติ คือ บลูเบอร์รี่และชาเขียว มีส่วนผสมของแป้งมันสำปะหลัง 30 เปอร์เซ็นต์ ปราศจากกลูเต็น มีเนื้อสัมผัสที่กรอบ มันสำปะหลังอบกรอบ มีปริมาณน้ำมันที่ต่ำ ปราศจากกลูเต็น สามารถใช้มันสำปะหลังสดหรือแป้งจากมันสำปะหลังได้ในกระบวนการผลิตซึ่งมันสำปะหลังอบกรอบมีหลายรสชาติ เช่น รสดั้งเดิม รสช็อกโกแลต รสสตรอว์เบอร์รี่ รสสมุนไพร รสน้ำพริกเผา นอกจากนี้ ยังมีการทดลองทำผลิตภัณฑ์เฟรนช์ฟรายด์จากมันสำปะหลังอีกด้วย

Subjectขนม. มันสำปะหลัง -- การแปรรูป. มันสำปะหลัง -- การอบ.

Sourceเทคโนโลยีชาวบ้าน 31, 701 (ส.ค. 2562) 92

Abstractบัว มีรสฝาด ขมหวาน มีคุณสมบัติเย็น ใช้แก้ไข้ ร้อนใน กระหายน้ำ ลำต้นหรือสายบัวมีรสฝาด เย็น มีกลิ่นหอม ขับพยาธิ ขับปัสสาวะ ใบบัว มีรสขม เย็น แก้ปัสสาวะขัด ริดสีดวงทวาร และโรคผิวหนังกำเริบ ไหลบัว มีคุณสมบัติร้อน เพิ่มการไหลเวียนของเลือด บำรุงกำลัง บำรุงร่างกาย เกสรบัว มีรสฝาด บำรุงหัวใจ แก้อาการอักเสบ ร้อนใน ในด้านความงามเกสรบัวมีคุณสมบัติ ต้านอนุมูลอิสระ ทำให้ผิวขาวโดยออกฤทธิ์ต้านการสร้างเม็ดสีในผิว ชะลอริ้วรอยผิวเสื่อมสภาพ ใบบัว ช่วยลดการสะสมไขมันเข้าสู่เซลล์ไขมัน (adi pocyte) และเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเผาผลาญเซลล์ไขมันในร่างกายด้วย มีฤทธิ์ใกล้เคียงกับสาร L-carnitine.

Subjectใบบัว. ใบบัว -- แง่โภชนาการ.

AuthorAnika Singh and David D. Kitts.

SourceJournal of Food Science 84(3)2019:475-480

AbstractThe study reports on the in vitro bioaccessibility of anthocyanins present in tart cherry extracts formulated with a mineral clay to produce a novel natural health product. Results show that tart cherry anthocyanins are stable and bioaccessible after gastric digestion but were largely transformed or degraded (>70%) after duodenal digestion. This contrasted the fact that total antioxidant capacity of tart cherry extract using oxygen radical absorbance capacity assay increased almost two‐fold after GI digestion. There was no significant difference between anthocyanin recovery when present the mineral clay formulation, compared to control, thus the presence of the cationic‐based mineral clay was not a factor in reducing anthocyanin bioaccessibility, or increasing antioxidant capacity. In vitro digestion of foods or natural health products should be included in protocols that aim to assess overall bioaccessibility and bioactivity of those anthocyanins present in tart cherry.

SubjectAnthocyanins. In vitro digestion. Natural health supplements. Oxygen radical absorbance capacity. Tart cherry.