แก้วกระดาษเคลือบพลาสติกชีวภาพ หรือ zero-waste cup จากโครงการ Chula Zero Waste จุฬาฯ ร่วมกับกรมป่าไม้ นำไปทดสอบใช้ซ้ำ (Reuse) “เพาะชำกล้าไม้”

ญี่ปุ่นแสดงให้เห็นอีกครั้งว่าเป็นประเทศที่ก้าวหน้า มีสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ อยู่มากมาย รวมถึง “หนังสือพิมพ์สีเขียว” เป็นหนังสือพิมพ์ที่ทำจากกระดาษรีไซเคิล และเมล็ดพันธุ์พืชผัก สมุนไพร หรือไม้ดอก โดยทำให้ทุกคนสามารถปลูกได้ทันทีหลังจากที่อ่านเสร็จ คิดค้นโดยสำนักพิมพ์ของญี่ปุ่น The Mainichi Shimbunsha

แก้ปัญหาการขับถ่ายผู้ป่วยมะเร็งลำไส้และทวารหนัก ที่คนไทยป่วยมากเป็นอันดับ 3 รองจากมะเร็งเต้านม และ มะเร็งตับและท่อน้ำดี ผลงานคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์(มอ.) มีคุณสมบัติ เก็บกลิ่น กันการรั่วซึม สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายให้ผู้ป่วยได้มากถึง 24 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ลดมูลค่าการนำเข้าได้ถึง 540 ล้านบาท นำไปทดลองกับคนป่วยทั่วประเทศทั้งหมด 322 โรงพยาบาลแล้ว

ตะเกียบชีวภาพ หรือ "ตะเกียบกินได้" คิดค้นโดยนักศึกษาวิศวกรรมอาหาร ลาดกระบัง มีการพัฒนาต่อยอดจากช่วงแรกที่เคยมีบรรจุภัณฑ์เป็นห่อพลาสติก ล่าสุดเปลี่ยนมาใช้ซองทำด้วยกระดาษแทน เพื่อตอกย้ำถึงนวัตกรรมที่ช่วยลดการสร้างขยะพลาสติกสู่สิ่งแวดล้อม