“THEOS - 2” ได้กลายเป็นดาวเทียมสำรวจโลกดวงแรกของไทย โดยฝีมือคนไทย ที่สามารถขึ้นไปโคจรในอวกาศได้สำเร็จ หลังจากการปล่อยขึ้นสู่อวกาศ ณ ท่าอวกาศยานยุโรปเฟรนช์เกียนา (Guiana Space Center) ในทวีปอเมริกาใต้ ทำให้ความสำเร็จในด้านอวกาศของประเทศไทยก้าวไปอีกขั้น

นักวิทยาศาสตร์สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) นำเทคนิคแสงซินโครตรอนตรวจวิเคราะห์เมล็ดกาแฟอะราบิกาไทย ทั้งการศึกษาองค์ประกอบทางชีวเคมี และการวิเคราะห์โครงสร้างสามมิติระหว่างการคั่วที่อุณหภูมิต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับปรับปรุงการผลิตเมล็ดกาแฟให้ได้คุณภาพสูง ยกระดับความสามารถในการแข่งขันของเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟไทย ให้สามารถส่งออกเมล็ดกาแฟสู่ตลาดโลกได้ในราคาที่สูง

ศ.เดมิส ฮัสซาบิส คือประธานเจ้าหน้าที่บริหารหรือซีอีโอของกูเกิลดีปมายด์

ราชบัณฑิตยสภาวิทยาศาสตร์แห่งสวีเดน ประกาศผลการตัดสินรางวัลโนเบลสาขาเคมีประจำปี 2024 โดยมอบให้กับนักวิทยาศาสตร์ 3 คน ผู้มีส่วนร่วมในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ออกแบบสร้างสรรค์โปรตีนชนิดใหม่ และยังคาดการณ์ถึงโครงสร้างสามมิติอันซับซ้อนของโปรตีนหลายล้านแบบได้อีกด้วย

ซีอีโอ “กูเกิลดีปมายด์” พิชิตโนเบลเคมีด้วยผลงานคาดการณ์โครงสร้างโปรตีน“รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช” ฉายภาพภูมิรัฐศาสตร์โลก-ภูมิอากาศโลก กระทบรุนแรงต่อความมั่นคงด้านอาหารของโลกและไทย แนะแนวทางการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานที่จะยกระดับความสามารถการผลิตทั้งด้านคุณภาพและปริมาณให้กับประเทศไทย